การติดตั้งวินโดวส์ โปรแกรมพื้นฐานและการตั้งค่าต่างๆ ตามขั้นตอน
ฉบับ ช่างป๊อกไอที ปี 2023
1. เตรียมข้อมูลติดตั้งวินโดวส์
- flash drive windows ที่สร้างด้วย Media creation tools
* ติดตั้งได้กับทุกเครื่องทั้ง BIOS=MBR และ UEFI=GPT
* partition ที่ถูกสร้างขึ้นใน flash drive จะมีพื้นที่ไม่เกิน 32GB format เป็น fat32 ใส่ไฟล์ขนาดเกิน 4GB ไม่ได้
- flash drive windows ที่สร้างด้วย rufus
* สร้างแบบใดต้องใช้ติดตั้งกับเครื่องแบบนั้น BIOS=MBR UEFI=GPT
* ถ้าใช้แผ่น Windows PE ที่คนตาบอดทำ ใช้วินโดว์กี่บิต 32 64 bit ก็ต้องใช้ตัวติดตั้งตามบิตที่ทำ Windows PE
2. ติดตั้งวินโดวส์
ในกรณีที่ติดตั้งไม่ได้ ให้ลบ partition เดิมออก แล้วแบ่งใหม่
3. ปิด UAC (User Account Control)
4. ติดตั้งโปรแกรมอ่านจอภาพและโปรแกรมออกเสียงภาษาไทยภาษาอังกฤษ
5. ตั้งค่ารูปแบบภูมิภาค (Region Formats) และLanguage for non-Unicode programs=ภาษาสำหรับโปรแกรมที่ไม่ใช่ Unicode
6. ตั้งค่าคีย์บอร์ดอังกฤษไทยและปุ่มเปลี่ยนภาษา
7. ตั้งค่าวันที่ และเวลา
8. นำไอคอนหลักของระบบออกมายังหน้า desktop (Desktop icon settings) เช่น User's Files, Computer, Control Panel etc.
9. ตั้งค่าการยืนยันก่อนลบไฟล์ (@ Recycle Bin)
10. ตั้งค่าโชว์นามสกุลไฟล์
11. เปลี่ยนชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ตามชื่อผู้ใช้
12. ติดตั้งฟอนต์ที่ต้องการใช้งานเพิ่มเติม
13. ติดตั้งไดร์เวอร์อุปกรณ์ต่างๆ วินโดว์ 10 ทำผ่านวินโดว์อัพเดช หรือติดตั้งไดร์เวอร์เพิ่มเติมจากไฟล์ในแผ่น CD/DVD
14. ติดตั้งโปรแกรมประเภท Runtime
14.1 DirectX
14.2 visual C ++ all in one
14.3 java (สำหรับใครที่ต้องใช้)
14.4 .NET Framework
14.5 Runtime อื่นๆเพิ่มเติม ดูและดาวน์โหลดได้จากเว็บ www.ninite.com ในหัวข้อ Runtimes
15. ติดตั้งโปรแกรมพื้นฐานต่างๆและตั้งค่าแต่ละโปรแกรมตามการใช้งาน
15.1 โปรแกรมประเภท Web browser ได้แก่ Google chrome และ Firefox
15.2 โปรแกรมประเภทบีบอัดไฟล์ ได้แก่ Win rar, 7zip และ Winzip
15.3 โปรแกรมประเภทดูหนังฟังเพลง ได้แก่ Winamp, และ Pot player
15.4 โปรแกรมประเภท Documents ได้แก่ Office, Notepad ++, Adobe Acrobat และ QTranslate
15.5 โปรแกรมประเภทจัดการไฟล์ ISO ได้แก่ Ultra ISO
15.6 โปรแกรมประเภทแปลงไฟล์วิดีโอ ได้แก่ Format Factory และ Freemake Video Converter
15.7 โปรแกรมประเภทตัดต่อเสียง ได้แก่ Sony Sound Forge Pro
15.8 โปรแกรมประเภทช่วยดาวน์โหลด ได้แก่ Internet Download Manager (IDM) 4K Video Downloader และ utorrent
15.9 โปรแกรมประเภทบันทึกวิดีโอหน้าจอ ได้แก่ OBS Studio
15.10 โปรแกรมประเภทตัดต่อวิดีโอ ได้แก่ Windows MovieMaker 2016 Pro
15.11 โปรแกรมประเภทคอมพิวเตอร์จำลอง ได้แก่ VMWare และ Virtual box
15.12 โปรแกรมประเภทอื่นๆ ได้แก่ Ava Find, Classic Shell, Virtual Audio Cable และ Virtual Recorder Portable
15.13 โปรแกรมทั่วไปที่จำเป็นต่อการใช้งานของแต่ละคน
16. Crack วินโดว์และออฟฟิศด้วย ConsoleAct
* กรณีที่ตัว crack ถูกบล็อกด้วย Defender ต้องไปกด allow=อนุญาต และ Restore=คืนค่า
ตั้งค่า Defender ให้เพิกเฉยไม่สะแกนไฟล์สกุล .rar, .7z, .zip, .msi, .cab
17. ตั้งค่า Default โปรแกรม
18. อัปเดชวินโดวส์ให้สมบูรณ์
19. ปิดการทำงานของโปรแกรมที่เปิดอัตโนมัติ (Startup Programs) ที่ไม่ได้ใช้งาน
20. ตั้งค่า Taskbar และการแสดงวัตถุบน Taskbar
21. ปิด Visual Effect เพื่อลดภาระในการสร้างกราฟิกและเอฟเฟกต์ของวินโดวส์
22. ปรับ Virtual memory ตามความเหมาะสมของแต่ละเครื่อง
23. เคลียร์ไฟล์ขยะด้วย Disk Clean Up
24. จัดเรียงข้อมูลด้วย Disk Defragment และปิดการ Defrag อัตโนมัติ กรณีใช้ SSD ไม่ต้อง Defrag
เพียง 24 ขั้นตอนด้านบนนี้ก็จะทำให้ผู้อ่านติดตั้งวินโดวส์ โปรแกรมพื้นฐานและตั้งค่าต่างๆได้อย่างสมบูรณ์ แล้วกลับมาพบกันใหม่ในบทความหน้า สวัสดีครับ
คุณอยู่ที่
ล็อกอิน
บทความที่เกี่ยวข้อง
สลับหน้า Desktop และย้ายหน้าต่างโปรแกรมไปยังหน้า Desktop ต่างๆ ได้ง่ายๆ เพียงไม่กี่ขั้นตอน
สำหรับใครที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นประจำคงจะทราบว่า เราสามารถสร้างหน้า Desktop เพื่อแยกหน้า Desktop ออกเป็นหลายๆ หน้าได้ ข้อดีก็คือ เราสามารถเปิดหน้าต่างโปรแกรมหลายๆ โปรแกรมและทำให้หน้าต่างที่เราเปิดทิ้งเอาไว้ไม่ดูรกหรือดูเยอะจนเกินไป เพราะเราได้แยกเอาโปรแกรมที่เราเปิดเอาไว้ ไปใส่ไว้ในหน้า Desktop แต่ละอันได้ เมื่อต้องการใช้งานก็แค่สลับไปยังหน้า Desktop นั้นก็พอ
ตัวอย่างก็เช่น หน้า Desktop แรกผมเปิดหน้าต่างจากโปรแกรมเอาไว้จำนวน 3 หน้าต่าง และหน้า Desktop ที่ 2 ผมเปิดเอาไว้อีก 3 หน้าต่าง รวมเป็น 6 หน้าต่าง
วิธีการเข้า WINDOWS COPILOT แบบง่าย ๆ
Copilot Windows 11 คือฟีเจอร์ใหม่ของ Windows 11 ที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ง่ายขึ้น โดยอาศัยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) เข้ามาช่วยในหลาย ๆ ด้าน ดังนี้ ช่วยตอบคำถามหรือแนะนำเกี่ยวกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ ช่วยสร้างรูป เขียนบทความหรือเขียน code เหมือนกับ bing
Copilot อาศัยโมเดลภาษาขนาดใหญ่ (LLM) ที่เรียกว่า ChatGPT ในการประมวลผลข้อมูลและตอบคำถามต่าง ๆ ผู้ใช้สามารถปรับแต่งการตั้งค่าของ Copilot ได้ เช่น เลือกได้ว่าจะให้ Copilot ทำงานอัตโนมัติหรือไม่ เลือกได้ว่าจะให้ Copilot เสนอคำแนะนำหรือไม่
เบื่อเสียง text to speech ในเครื่องแล้วหรือยัง มาประยุกต์ใช้ Microsoft Edge เพื่ออ่านข้อความให้ฟังกันดีกว่า
มาถึงวันนี้ ท่านผู้อ่านคงคุ้นเคยกันดี กับเสียงอ่านข้อความเป็นตัวอักษรของบริษัท Microsoft ซึ่งแพร่กระจายหลากหลายตามสื่อ Social Media ต่าง ๆ
บางครั้ง ฟังเสียงตาทิพย์ ฟังเสียง Nuance Vocalizer กันจนคุ้นชิน ก็อาจอยากเปลี่ยนเสียงอ่าน ประหนึ่งคนสายตาปกติที่เปลี่ยนรูปแบบตัวอักษรเพื่อให้เกิดความหลากหลายกันบ้าง วันนี้ GetI-T จึงมี เทคนิคที่จะอ่านออกเสียงข้อความด้วยผลิตภัณฑ์ของทาง Microsoft มาฝากกัน ทั้งนี้สำหรับคนตาดีที่ไม่สะดวกจะอ่านข้อความด้วยตัวเอง ก็สามารถใช้ได้เช่นกัน
13 หลักการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค สำหรับคนตาบอด ฉบับ ช่างป๊อกไอที 2024
สวัสดีครับก็กลับมาพบกับผม ป๊อกซ่าไอที หรือช่างป๊อกไอที กันอีกครั้ง หลังจากที่หายจากการลงบทความไอทีไปหลายเดือน ในต้นเดือนเมษาผมก็ได้มีโอกาสเดินสำรวจnotebookร้านไอทีชั้นนำ และจากที่หลายท่านไว้ใจให้ผมเลือกnotebookมาใช้งานกัน ซึ่งผมก็จะขอนำเอาสิ่งที่ควรพิจารณาก่อนซื้อnotebookมาแนะนำ เวลาเลือกnotebookจะได้ใช้เป็นเกณฑ์ และจะได้notebookตรงกับการใช้งาน ขอข้ามspecต่างๆไปก่อน เพราะหลายท่านที่ซื้อ คงพิจารณาพื้นฐานกันได้อยู่แล้ว หรืออาจสอบถามเจ้าหน้าที่ไอทีที่ท่านรู้จัก
1 เลือกnotebookเล็กหรือใหญ่ดี เลือกไม่ถูก
ไม่ต้องใช้แอปเป๋าตังแทนอีกต่อไป เพราะแอป Krungthai NEXT อัปเดตใหม่ คนตาบอดเข้าถึงได้แล้ว
เมื่อเราพูดถึงธนาคารกรุงไทยและการทำธุรกรรมทางการเงิน หากเป็นระบบ IOS หรือไอโฟน คงไม่มีปัญหาอะไร เนื่องเพราะ VoiceOver เข้าถึงแอปพลิเคชัน Krungthai NEXT ได้อย่างไม่มีปัญหา
ทว่าสำหรับฝั่งระบบแอนดรอยแล้ว การใช้งานแอป Krungthai NEXT เข้าถึงได้น้อยมาก เรียกว่าใช้งานกันแทบไม่ได้ จนกระทั่งได้ใช้แอปพลิเคชันเป๋าตังดำเนินการทำธุรกรรมแทน เพราะแอปอ่านหน้าจอเข้าถึงได้ดีกว่า
หากแต่เมื่อเร็วๆ นี้ ตัวแอปพลิเคชัน Krungthai NEXT ได้มีการอัปเดตขนานใหญ่ ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างมาก รวมถึงเมนูต่างๆ ของแอปด้วย จากสภาพดังกล่าว จึงทำให้แอปช่วยอ่านหน้าจอของคนตาบอดเข้าถึงได้มากขึ้น
ทำอย่างไรให้ส่วนเสริมของ NVDA ใช้ได้ตลอดกาลนาน
เมื่อเช้าวันที่ 27 มีนาคม 2023 โปรแกรมอ่านหน้าจอ NVDA (Nonvisual Desktop Access) ได้ขยับปรับรุ่นเป็น 2023.1 แล้วค่ะ ปัญหาที่พบบ่อยเมื่ออัปเดตประจำปีคือ ส่วนเสริม (add-on) จะใช้การไม่ได้ ผู้ใช้โปรแกรมทุกคนต้องจำใจยอมรับและเข้าใจเงื่อนไขนี้ (ถูกบังคับให้ยอมรับและเข้าใจตั้งแต่ขั้นตอนการติดตั้งตัวอัปเดตทุกปีค่ะ)
อย่างไรก็ตาม ทุกปัญหามีทางแก้เสมอ เก๋จึงนำวิธีการทำให้ส่วนเสริมต่างๆ กลับมาใช้งานได้ตลอดกาลนานมาฝากเพื่อนๆ ค่ะ
บทความยอดนิยม
คุณรู้เรื่องนี้หรือยัง?
- คนตาบอดทำอาชีพอะไรได้บ้าง ตัวอย่างงานบางส่วนที่คนตาบอดใช้ประกอบอาชีพกันอยู่ในปัจจุบัน ที่คนตาดีอาจนึกไปไม่ถึง!
- คนพิการตาบอดและคนพิการเคลื่อนไหว คอลเซ็นเตอร์รับเรื่องร้องทุกข์สายด่วน 1555 ที่ทำงานอยู่เบื้องหลังเพื่อสนับสนุนการใช้ชีวิตของคนกรุงเทพฯ
- สลับหน้า Desktop และย้ายหน้าต่างโปรแกรมไปยังหน้า Desktop ต่างๆ ได้ง่ายๆ เพียงไม่กี่ขั้นตอน
- ย้อนดูวิวัฒนาการ iPhone 1 – iPhone 15 ตั้งแต่ไอโฟนรุ่นแรกจนมาถึงวันนี้ ไอโฟนทุกรุ่นเป็นยังไงกันบ้าง By specphone.com
- 2 AI ถอดเทป ภาษาไทย ปะทะกัน ใครจะเจ๋งกว่า ไปชม Sound Transcriber VS Microsoft Clipchamp
- รีวิว Ant Delivery แอปพลิเคชันสั่งอาหารระดับอำเภอกับคนตาบอด
กระทู้ใหม่
- ดาวน์โหลด shoutcast-dsp-2-3-4-windows โปรแกรมจัดวิทยุออนไลน์เวอร์ชันเสถียรส่งสัญญาณได้อย่างต่อเนื่อง
- ปรึกษาปัญหาเรียนต่อโท
- สงสัยเรื่องปัญหาที่ผู้พิการทางสายตาเจอตอนจะขึ้นรถเมล์ในกทม.ครับ
- ทำให้เว็บ Fictionlog รองรับการอ่านนิยายบนเว็บไซต์ด้วยโปรแกรมอ่านหน้าจอ (แอปพลิเคชันเข้าถึงได้บางส่วน)
- ทำไมระบบการจ้างงานคนพิการด้วยมาตรา 35 มันเละได้ขนาดนี้
- Download (ดาวน์โหลด) SmartVoice 3.3.1
- ขั้นตอนการลงทะเบียน เพื่อขอสิทธิ์ในการเข้าถึงเนื้อหานิยายด้วยตัวช่วยอ่านหน้าจอ บนเว็บเด็กดี ของคนตาบอด
- กฎระเบียบในการใช้งานห้องเสนอแนะ
แสดงความคิดเห็น